Tag: ESP32

เริ่มต้นใช้งาน ESP Rainmaker

ESP RainMaker เป็นแพลตฟอร์มที่ช่วยให้นักพัฒนาสร้างอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับ ESP32-S2 SoC ของ Espressif โดยไม่ต้องวุ่นวายกับการจัดการโครงสร้างพื้นฐาน มี SDK ของอุปกรณ์ แอปโทรศัพท์ที่ปรับเปลี่ยนได้เอง มิดเดิลแวร์คลาวด์แบบโปร่งใส และยูทิลิตีโฮสต์เพื่อลดความซับซ้อนในการพัฒนาอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ ESP RainMaker ยังเสนอการผสานรวมกับ Amazon Alexa และ Google Voice Services โดยรองรับอุปกรณ์มาตรฐาน บางประเภท สำหรับหมวดหมู่ต่อไปนี้ ESP RainMaker เป็นโซลูชัน IoT…

Internet of Things แสดงผลอุณหภูมิ DHT11

Internet of Things แสดงผลอุณหภูมิ DHT11 บทความนี้เราจะเรียนรู้วิธีการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์อุณหภูมิและความชื้นยอดนิยม DHT11 กับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 โดย DHT11 เป็นเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น เพื่อวัดอุณหภูมิและความชื้นของบรรยากาศในสภาพแวดล้อมเฉพาะหรือในพื้นที่ปิดที่ จำกัด และ แสดงผลผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ดูได้ทั่วโลก ที่เว็บไซต์ http://www.iotsiam.net/ ด้วยเทคโนโลยี IoT ซึ่งมีความจำเป็นต้องทำงานร่วมกับอุปกรณ์ประเภท Sensors ซึ่งเปรียบเสมือนการเติมสมองให้กับอุปกรณ์ต่างๆ ที่ขาดไม่คือการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต เพื่อให้อุปกรณ์สามารถรับส่งข้อมูลถึงกันได้ รายการอุปกรณ์ 1. Keyestudio ESP32 Development…

MicroPython ESP32 – 04 : Web Server ควบคุมเอาต์พุต

MicroPython ESP32 Web Server สร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์เพื่อควบคุมเอาต์พุต เรียนรู้วิธีสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์เพื่อควบคุมเอาต์พุตของบอร์ด ESP32 โดยใช้เฟรมเวิร์ก MicroPython ตัวอย่างเช่นเราจะสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์พร้อมปุ่มเปิดและปิดเพื่อควบคุม LED บนบอร์ดของ ESP32 โดยเราจะใช้ Sockets และ Python socket API ESP32 เปิดปิดไฟ เครือข่าย WiFi ด้วย เว็บเพจ ควบคุมทุกสรรพสิ่งภายในบ้านของคุณด้วย ESP32 หรือ Home Automation…

MicroPython ESP32 – 03 : Deep Sleep

MicroPython ESP32 : โหมดประหยัดพลังงาน Deep Sleep ด้วย ESP32 Deep Sleep คือโหมดประหยัดพลังงานที่มีใน ESP32 หมายถึง การใช้วงจรไฟฟ้าภายใน ESP32 เป็นตัวกระตุ้น แล้วทำให้ ESP32 ตื่นขึ้นมา มักจะหมายถึงการปลุกให้ตื่นตามเวลาด้วย RTC โดยปกติแม้ส่วนวงจรอื่น ๆ ของ ESP32 จะถูกปิดการทำงาน แต่ส่วนของ RTC จะยังนับ และจดจำค่าเวลาต่อไปเรื่อย…

MicroPython ESP32 – 02 : พื้นฐาน PWM อินพุต/เอาต์พุต

MicroPython ESP32 – 02 : พื้นฐาน PWM อินพุต/เอาต์พุต บทความนี้กล่าวถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรม โค้ดภาษา ไมโครไพธอน – MicroPython  ให้กับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ด้วย Thonny IDE โดยโค้ดนี้จะสาธิตการใช้คำสั่งเพื่อใช้งาน PWM พื้นฐาน รวมทั้ง อินพุต/เอาต์พุต และ การใช้ Push Button โดยมีขั้นตอนการทำงานดังนี้ 1 :…

MicroPython ESP32 – 01 : โปรแกรมแรก ด้วย Thonny IDE

MicroPython ESP32 – 01 : โปรแกรมแรก Blink ด้วย Thonny IDE Thonny เป็น IDE ที่เขียนขึ้นมาเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python โดยมีความสามารถหลายอย่าง เช่น แสดงชื่อตัวแปรและค่าของตัวแปรที่มีอยู่ในระบบ เป็นต้น พัฒนาโดย University of Tartu Institute of Computer Science โปรแกรมแรกของ การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์มักจะเป็น Blink…

โปรแกรมแรก กับ ESP32 MicroPython ด้วย uPyCraft IDE

โปรแกรมแรก Blink กับ ESP32 MicroPython ด้วย uPyCraft IDE โปรแกรมแรกของ การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์มักจะเป็น Blink ไฟกะพริบ ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรแกรมที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการเขียนภาษาโปรแกรมต่างๆ เพราะฉะนั้นโดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว มักจะใช้ในการตรวจสอบว่าเขียนภาษาโปรแกรมได้ถูกต้องหรือระบบมีการประมวลผลที่ถูกต้อง และมักถูกใช้เป็นตัวอย่างที่ง่ายที่สุดในการแสดงผลลัพธ์ของการเขียนโปรแกรม โดยมีขั้นตอนการทำงานดังนี้ 1 : อุปกรณ์ที่ใช้ 1. TTGO T8 V1.7 ESP32 Development Board 4MB PSRAM TF Card…

ติดตั้ง Firmware MicroPython บน ESP32 ด้วย uPyCraft IDE

MicroPython นั้นเป็นการจับเอา Python3 มาทำให้มีขนาดกระทัดรัดและมีประสิทธิภาพ โดยจะมีชุดไลบรารีมาตรฐานของ Python ขนาดเล็กที่ถูกปรับแต่งให้สามารถใช้งานบนไมโครคอนโทรลเลอร์และสภาวะแวดล้อมการทำงานที่จำกัดได้อย่างเหมาะสม การติดตั้ง MicroPython Firmware บน ESP32 มีขั้นตอนดังนี้ 1 : ติดตั้ง Python 3.7.X ก่อนการติดตั้ง uPyCraft IDE ต้องติดตั้ง Python 3.7.X เวอร์ชันล่าสุด ลงในคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการในตัวอย่างใช้ Windows 10 ถ้ายังไม่ได้ติดตั้งให้ทำตามขั้นตอนด้านล่างนี้…

การเรียกใช้เวลามาตรฐาน NTP ด้วย ESP32

การเรียกใช้เวลามาตรฐาน NTP ด้วย ESP32 โปรเจคที่ต้องการทำงานอัตโนมัติที่เกี่ยวข้องกับเวลา เช่น เครื่องรดน้ำต้นไม้ เครื่องให้อาหารปลา โปรเจคเหล่านี้จะต้องใช้เวลาเป็นตัวกำหนดการทำงานซึ่งไมโครคอนโทรลเลอร์ทั่ว ๆ ไปสามารถทำได้โดยปกติอยู่แล้ว ซึ่งอาจใช้การเขียนเป็นโปรแกรมนับเวลาหรือจะใช้โมดูลเก็บเวลาจริงที่เรียกว่า RTC เป็นตัวเก็บเวลาแล้วทำการเขียนโปรแกรมดึงเวลาเข้ามาประมวลผล ESP32 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวหนึ่งที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ ดังนั้นเมื่อเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ก็สามารถที่จะดึงเวลาจากเซิร์ฟเวอร์มาใช้งานได้ ซึ่งจะมีข้อดีกว่าการใช้ RTC อยู่สองสามประการได้แก่ประหยัดเงินซื้อโมดูล RTC และเวลาที่ได้จากเซิร์เวอร์จะเที่ยงตรงเสมอ ซึ่งถ้าใช้งาน RTC เวลาจะคลาดเคลื่อนได้เมื่อใช้งานไประยะหนึ่งซึ่งผู้ใช้งานจะต้องมาตั้งค่าเวลาให้กับ RTC ใหม่ ตัวอย่างโปรเจคที่ใช้ RTC โปรเจค…

โปรเจค ESP32 วัดอุณหภูมิและความชื้น + ฝุ่น PM2.5

โปรเจค ESP32 วัดอุณหภูมิและความชื้น + PM2.5 บทความนี้เราจะเรียนรู้วิธีการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์อุณหภูมิและความชื้นยอดนิยม DHT11 กับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 โดย DHT11 เป็นเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น เพื่อวัดอุณหภูมิและความชื้นของบรรยากาศในสภาพแวดล้อมเฉพาะหรือในพื้นที่ปิดที่ จำกัด และเพิ่ม เซ็นเซอร์วัดฝุ่น PM2.5 Keyestudio GP2Y1014AU ของ Sharp โดยเซ็นเซอร์ฝุ่นนี้มีขนาดเล็กและสามารถตรวจจับฝุ่นละอองและอนุภาคควันในสิ่งแวดล้อมได้ ใช้พลังงานน้อยมากในขณะที่ทำงานจึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับระบบตรวจสอบที่เปิดตลอดเวลา ซึ่งทั้ง 2 เซ็นเซอร์มักใช้ในการตรวจสอบพารามิเตอร์ด้านสิ่งแวดล้อมในหลาย ๆ แอปพลิเคชันเช่นการเกษตรอุตสาหกรรมอาหารโรงพยาบาลรถยนต์สถานีตรวจอากาศเป็นต้น รายการอุปกรณ์ 1. Keyestudio…

โปรเจค ESP32 เครื่องวัดฝุ่น PM2.5 ด้วย เซ็นเซอร์ GP2Y1014AU

โปรเจค ESP32 เครื่องวัดฝุ่น PM2.5 บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการทำงานโปรเจค เครื่องวัดฝุ่น PM2.5 ด้วย ESP32 โดยใช้ เซ็นเซอร์วัดฝุ่น PM2.5 Keyestudio GP2Y1014AU ของ Sharp เซ็นเซอร์ฝุ่นนี้มีขนาดเล็กและสามารถตรวจจับฝุ่นละอองและอนุภาคควันในสิ่งแวดล้อมได้ ใช้พลังงานน้อยมากในขณะที่ทำงานจึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับระบบตรวจสอบที่เปิดตลอดเวลา รายการอุปกรณ์ 1. Keyestudio ESP32 Development Board ESP32-WROOM-32 2. Keyestudio ESP32-IO Shield 3. Micro USB…

โปรแกรมแรก กับ Keyestudio ESP32

สวัสดีชาวโลก (Hello World) คือ คำง่าย ๆ สำหรับการเขียนโปรแกรมแรกของโปรแกรมเมอร์ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่ทำการแสดงผลคำว่า “Hello world” หรือเฮลโลเวิลด์ “Hello, world!”(ตามหลักภาษาอังกฤษ) บนอุปกรณ์แสดงผล ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรแกรมที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการเขียนภาษาโปรแกรมต่างๆ เพราะฉะนั้นโดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว มักจะใช้ในการตรวจสอบว่าเขียนภาษาโปรแกรมได้ถูกต้องหรือระบบมีการประมวลผลที่ถูกต้อง และมักถูกใช้เป็นตัวอย่างที่ง่ายที่สุดในการแสดงวากยสัมพันธ์การเขียนโปรแกรม รายการอุปกรณ์ 1. Keyestudio ESP32 Development Board ESP32-WROOM-32 2. Keyestudio ESP32-IO Shield 3. Micro USB Cable…

การใช้งาน ESP32 กับ Arduino IDE

การใช้งาน ESP32 เบื้องต้น และ โปรแกรมแรก กับ Arduino IDE ในบทความนี้จะเป็นการแนะนำการติดตั้งโปรแกรม Arduino IDE ตั้งแต่ต้น ไปจนถึงการติดตั้งชุดพัฒนา Arduino core for ESP32 WiFi chip และ การตรวจสอบว่าติดตั้งสำเร็จหรือไม่ “Arduino” แต่เดิมเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ในการพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ด Arudino เท่านั้น แต่ภายหลังกลุ่มผู้พัฒนาโปรแกรม Arduino IDE ได้เริ่มรองรับการติดตั้งชุดพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ดอื่น ๆ…

การใช้งาน ESP32 ด้วย ESP-IDF และ Eclipse IDE

การใช้งาน ESP32 ด้วย ESP-IDF และ Eclipse IDE บน Windows ESP-IDF เป็นชุดคอมไพล์เลอร์ ESP32 ที่พัฒนาโดยบริษัท Espressif ผู้ผลิตและออกแบบ ESP32 การพัฒนาโค้ด ESP32  สำหรับ Arduino นั้น จะทำควบคู่ไปกับการพัฒนา ESP-IDF โดยที่ ESP-IDF จะเป็นแกนหลัก โดยเมื่อมีการเพิ่มฟีเจอร์ใหม่ๆ ให้ ESP-IDF แล้ว…

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save