Category: ► C/C++ (Arduino)

การเขียนโปรแกรม ไมโครคอนโทรลเลอร์ ด้วย ภาษา C/C++ (Wiring) ในการเขียนโปรแกรมสำหรับบอร์ด Arduino จะต้องเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาของ Arduino ซึ่งตัวภาษาของ Arduino ก็นำเอาโอเพ่นซอร์ส ชื่อ Wiring ที่เป็น Open Source Programming (ระบบพัฒนาโปรแกรมแบบเปิด) และบอร์ด i/o อิเล็กทรอนิกส์ สำหรับใช้ในงาน การเรียนรู้เกี่ยวกับ Computer Programming และ ทำโปรเจคอิเล็กทรอนิกส์ต้นแบบ ให้เราใช้ MCU ได้ง่ายขึ้น เช่น High Level และส่วน Low Level มาพัฒนาต่อ

ภาษาของ Arduino แบ่งได้เป็น 2 ส่วนหลักคือโครงสร้างภาษา (Structure) ตัวแปรค่าคงที่และฟังก์ชั่น (Function) ภาษาของ Arduino จะอ้างอิงตามภาษา C/C++ จึงอาจกล่าวได้ว่าการเขียนโปรแกรมสำหรับ Arduino ก็คือการเขียนโปรแกรมภาษา C โดยเรียกใช้ฟังก์ชั่นและไลบรารีที่ทาง Arduino ได้เตรียมไว้ให้แล้ว

โปรแกรมแรก กับ Keyestudio ESP32

สวัสดีชาวโลก (Hello World) คือ คำง่าย ๆ สำหรับการเขียนโปรแกรมแรกของโปรแกรมเมอร์ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่ทำการแสดงผลคำว่า “Hello world” หรือเฮลโลเวิลด์ “Hello, world!”(ตามหลักภาษาอังกฤษ) บนอุปกรณ์แสดงผล ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรแกรมที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการเขียนภาษาโปรแกรมต่างๆ เพราะฉะนั้นโดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว มักจะใช้ในการตรวจสอบว่าเขียนภาษาโปรแกรมได้ถูกต้องหรือระบบมีการประมวลผลที่ถูกต้อง และมักถูกใช้เป็นตัวอย่างที่ง่ายที่สุดในการแสดงวากยสัมพันธ์การเขียนโปรแกรม รายการอุปกรณ์ 1. Keyestudio ESP32 Development Board ESP32-WROOM-32 2. Keyestudio ESP32-IO Shield 3. Micro USB Cable…

การใช้งาน เซ็นเซอร์วัดฝุ่น PM2.5 กับ Arduino UNO

บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งาน เซ็นเซอร์วัดฝุ่น PM2.5 กับ Arduino UNO โดยใช้ เซ็นเซอร์วัดฝุ่น PM2.5 Keyestudio GP2Y1014AU ของ Sharp เซ็นเซอร์ฝุ่นนี้มีขนาดเล็กและสามารถตรวจจับฝุ่นละอองและอนุภาคควันในสิ่งแวดล้อมได้ ใช้พลังงานน้อยมากในขณะที่ทำงานจึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับระบบตรวจสอบที่เปิดตลอดเวลา รายการอุปกรณ์ 1. Arduino UNO R3 2. Sensor Shield V 5.0 3. เซ็นเซอร์วัดฝุ่น PM2.5 Keyestudio GP2Y1014AU 4. Jumper (F2F)…

การใช้งานจอ LCD2004 I2C 20×4 กับ Arduino UNO

การใช้งานจอ LCD 20×4 บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานจอ LCD2004 I2C 20×4 กับ Arduino UNO โดยใช้ Character LCD เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD ขนาด 20×4 หมายถึงใน 1 แถว มีตัวอักษรใส่ได้ 20 ตัว และมีทั้งหมด 4 บรรทัดให้ใช้งาน จอ…

STM32 วัดอุณหภูมิ และความชื้น แสดง ออกทางหน้าจอ LCD

STM32 วัดอุณหภูมิ และความชื้น แสดง ออกทางหน้าจอ LCD บทความนี้เราจะเรียนรู้วิธีการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์อุณหภูมิและความชื้นยอดนิยม DHT11 กับไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 โดย DHT11 เป็นเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น เพื่อวัดอุณหภูมิและความชื้นของบรรยากาศในสภาพแวดล้อมเฉพาะหรือในพื้นที่ปิดที่ จำกัด เซ็นเซอร์มักใช้ในการตรวจสอบพารามิเตอร์ด้านสิ่งแวดล้อมในหลาย ๆ แอปพลิเคชันเช่นการเกษตรอุตสาหกรรมอาหารโรงพยาบาลรถยนต์สถานีตรวจอากาศเป็นต้น ประโยชน์และการนำโปรเจคไปพัฒนาต่อ เช่น..เครื่องควบคุมอุณหภูมิเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมอุณหภูมิให้ได้ตามค่าอุณหภูมิที่กำหนดไว้ โดยจะนำมาใช้ในการสั่งการให้กับอุปกรณ์สำหรับทำความร้อนหรืออุปกรณ์ทำความเย็น ทำงาน ตามที่ได้ตั้งค่าอุณหภูมิไว้ การนำมาใช้งานและการควบคุมก็ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการใช้งาน เครื่องวัดอุณหภูมิก็จะมีส่วนที่รับอุณหภูมิ (Input) จากหัววัดอุณหภูมิ หรือที่เรียกกันว่าเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิแล้วมาแสดงผลที่หน้าจอ Display พร้อมกับควบคุมอุณหภูมิให้ได้ตามค่าที่ได้กำหนดไว้…

การใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F103C8T6

การใช้งานจอ LCD STM32F103C8T6 บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F103C8T6 โดยใช้ Character LCD เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD ขนาด 16×2 หมายถึงใน 1 แถว มีตัวอักษรใส่ได้ 16 ตัว และมีทั้งหมด 2 บรรทัดให้ใช้งาน จอ…

การใช้งานบอร์ด STM32 STM32F103C8T6 กับ Arduino IDE

การใช้งานบอร์ด STM32 STM32F103C8T6 กับ Arduino IDE บอร์ด STM32 STM32F103C8T6 บอร์ดพัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32F103C8T6 มีแรม 20KB รอม 64KB รองรับบัส I2C SPI UART และ CAN มี GPIO ทั้งหมด 37 ช่อง และมี ADC 12 บิต…

โปรเจค STM32 เปิดปิดไฟด้วยเสียง (STM32F407VET6)

บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการทำโปรเจค เปิดปิดไฟด้วยเสียงปรบมือ โดยใช้ ไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยประโยชน์ของโปรเจคนี้คือ การเปิดปิดไฟแบบไม่สัมผัส เพื่อลดการติดต่อของเชื้อโรค เช่น เชื้อโควิด 19 ผ่านการสัมผัสสวิทซ์จุดเดียวกัน จากผู้ใช้หลายๆคนใช้ร่วมกัน การทำงานเริ่มจากการรับสัญญาณเสียงเช่น เสียงปรบมือ หรือเสียงอื่นๆที่มีความดังใกล้เคียงกัน ผ่านทางเซ็นเซอร์เสียง (Voice Sound Detection Sensor) แล้วประมวลผลด้วย STM32 ส่งค่าการเปิดปิด (LOW / HIGH)…

การใช้งานบอร์ด STM32 STM32F411CEU6 กับ Arduino IDE

บอร์ด STM32 STM32F411CEU6 ผลิตในประเทศจีน โดย WeAct Studio ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์รุ่น STM32F411CEU6 ภายในมีตัวประมวลผลหรือซีพียู ARM Cortex-M4F หน่วยความจำ Flash 512 KB และ หน่วยความจำ SRAM 128 KB สามารถใช้ความถี่ในการทำงานของซีพียูได้สูงถึง 100MHz เนื่องจากบอร์ดนี้มีสีดำ จึงมีการตั้งชื่อหรือเรียกกันว่า STM32 Black Pill คอมไพล์เลอร์ที่นิยมใช้งานกันได้แก่ STM32CubeIDE…

การใช้งาน GPS โมดูล กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6

บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งาน โมดูล GPS รุ่น GY-NEO6MV2 NEO-6M กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยใช้การสื่อสารกันผ่านพอร์ตอนุกรมแบบ UART และแสดงผล ละติจูด , ลองจิจูด ที่จอ LCD 16×2 GPS ย่อมาจาก Global Positioning System และใช้เพื่อตรวจจับละติจูดและลองจิจูดของตำแหน่งใด ๆ บนโลกโดยมีเวลา UTC ที่แน่นอน…

การใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6

บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยใช้ Character LCD เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD ขนาด 16×2 หมายถึงใน 1 แถว มีตัวอักษรใส่ได้ 16 ตัว และมีทั้งหมด 2 บรรทัดให้ใช้งาน จอ LCD ปกติจะใช้สายไฟหลายเส้นในการต่อใช้งาน แต่โมดูล…

การใช้งานบอร์ด STM32 STM32F407VET6 กับ Arduino IDE

STM32F407VET6 STM32 เป็นชิปที่สร้างโดย STMicroelectronics ภายในใช้ CPU ARM 32bit Cortex – M4 ซึ่งออกแบบมาเพื่อไมโครคอนโทรลเลอร์โดยเฉพาะ ความถี่ CPU สูงสุด 168MHz มีรอม 64KB และ SRAM 192+4 KB มี GPIO ให้ใช้ 82 ขา ADC 12bit จำนวน…

สถานีตรวจวัดอากาศ ATtiny85 ด้วย DHT22

สถานีตรวจวัดอากาศ ATtiny85 หรือ Weather Station ทำหน้าที่หลัก คือ วัดและตรวจสอบสภาพอากาศ ผ่านเครื่องวัดต่างๆ เช่น เซนเซอร์ DHT22 โมดูลเซนเซอร์วัดความชื้นและอุณหภูมิในตัวเดียว ใช้ไฟเลี้ยง 3 V – 5.5 V แล้วนำมาประมวลผล ด้วย ไมโครคอนโทรลเลอร์ จิ๋ว ATtiny85 แล้วแสดงผลที่จอ OLED 96×64 พร้อมสี 64K โดยการอินเทอร์เฟซแบบ…

การติดตั้งบอร์ด STM32 ลงใน Arduino IDE

การติดตั้งบอร์ด STM32 ลงใน Arduino IDE การใช้งาน IDE สำหรับ STM32 และคอมไพล์เลอร์ที่นิยมใช้งานกัน ได้แก่ STM32CubeIDE , AC6 System Workbench for STM32 , ARM Keil MDK , ARM Mbed Online Compiler , Arm Mbed…

การใช้งานจอ OLED Display SSD1331 ด้วย ATtiny85

ไลบรารีกราฟิกสี (Colour Graphics Library) นี่คือไลบรารีกราฟิกสีขนาดเล็กสำหรับจอแสดงผล OLED Colour SPI 96×64 ที่ใช้ ชิปไดรเวอร์ SD1331 ซึ่งช่วยให้คุณสามารถพล็อตจุดเส้นเติมสี่เหลี่ยมและเปิดและข้อความที่มีอักขระขนาดเล็กหรือใหญ่: การใช้งานจอ OLED Display SSD1331 ด้วย ATtiny85 OLED Display SSD1331 โมดูลนี้ จะแตกต่างจากไลบรารีการแสดงผล SPI OLED อื่น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่ ไม่จำเป็นต้องมีบัฟเฟอร์หน่วยความจำทำให้สามารถรันบนโปรเซสเซอร์ใดก็ได้ รวมทั้ง…

หรี่ความสว่างหลอดไฟ LED ด้วย ATtiny85 PWM

ATtiny85 PWM หรี่ความสว่างหลอดไฟ LED พื้นฐาน ATtiny85 PWM ATtiny85 ช่วยให้เราสามารถสร้างเอาท์พุทแบบอะนาล็อกโดยใช้ PWM (Pulse Width Modulation) ATtiny85 มีตัวจับเวลา 2 ตัว ที่สามารถใช้เพื่อสร้างสัญญาณ PWM คือ ตัวจับเวลา 0 ซึ่งเป็นตัวจับเวลา 8 บิตที่สามารถแก้ไขเฟสและ PWM ที่รวดเร็วที่ใช้สำหรับฟังก์ชั่นเช่น delay () และ…

การใช้งาน UNO WiFi R3 ATmega328P ESP8266 เบื้องต้น

การใช้งาน UNO WiFi R3 ATmega328P ESP8266 เบื้องต้น ในบอร์ดจะมี MCU อยู่ 2 ตัว คือ ATmega328P กับ ESP8266 โดย บอร์ดนี้สามารถใช้ได้ 3 รูปแบบด้วยกัน คือ ใช้เป็น Arduino UNO ธรรมดา ใช้เป็น ESP8266 ให้ ATmega328P กับ…

เพิ่มบอร์ด ATtiny85 , ATtiny84 ให้ Arduino IDE

เพิ่มบอร์ด ATtiny85 , ATtiny84 ให้ Arduino IDE AVR ATtiny เป็นตระกูลของไมโครคอนโทรลเลอร์ที่พัฒนามาตั้งแต่ปี 1996 โดย Atmel ซึ่งได้มาจาก Microchip Technology ในปี 2559 สิ่งเหล่านี้ได้รับการดัดแปลงสถาปัตยกรรมฮาร์วาร์ด 8-bit RISC ไมโครคอนโทรลเลอร์ชิปตัวเดียว AVR เป็นหนึ่งในตระกูลไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกที่ใช้หน่วยความจำแฟลชแบบ on-chip สำหรับการจัดเก็บโปรแกรมเมื่อเทียบกับ ROM ที่ตั้งโปรแกรมได้ครั้งเดียว EPROM หรือ…

การใช้งาน ATtiny85 ด้วย บอร์ด Arduino UNO

การใช้งาน ATtiny85 ด้วย บอร์ด Arduino UNO การใช้งาน ATtiny85 ด้วย บอร์ด Arduino UNO AVR เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์รุ่นต่อมาที่มีการ พัฒนาต่อมาจาก MCS-51 โดยบริษัท ATMEL อัน เนื่องมาจากว่า MCS-51 ยุคหลังนี้ไม่ค่อยมีคนใช้ งานจริง และมีใช้งานแต่เฉพาะในสถาบันการศึกษา เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าการออกออกแบบวงจรที่ ค่อนข้างยุ่งยาก และต้องอาศัยการต่ออุปกรณ์ร่วม เยอะนั้นเอง ATtiny85 ไอซีตะกูล AVR ขนาดเล็ก…

วิธีใช้ ESP8266 ESP-01 ปล่อย WiFi สร้างเครือข่าย WiFi

วิธีใช้ ESP8266 ESP-01 ปล่อย WiFi สร้างเครือข่าย WiFi โหมดการทำงานของ ESP8266 หนึ่งในคุณสมบัติที่ยอดเยี่ยมที่สุดของ ESP8266 คือไม่เพียง แต่เชื่อมต่อกับเครือข่าย WiFi ที่มีอยู่และทำหน้าที่เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ แต่ยังสามารถตั้งค่าเครือข่ายของตัวเอง เพื่อให้อุปกรณ์อื่น ๆ สามารถเชื่อมต่อโดยตรงและเข้าถึงได้โดยเว็บเพจ สิ่งนี้เป็นไปได้เพราะ ESP8266 สามารถทำงานในโหมดต่าง ๆ ได้ 3 โหมด คือ โหมด AP โหมด…

ลงโปรแกรม ESP8266 ESP-01 ด้วย CP2102 USB

ESP8266 คือโมดูล WiFi จากจีน ที่มีความพิเศษตรงที่ตัวมันสามารถโปรแกรมลงไปได้ ทำให้สามารถนำไปใช้งานแทนไมโครคอนโทรลเลอร์ได้เลย และมีพื้นที่โปรแกรมที่มากถึง 4MB ทำให้มีพื้นที่เหลือมากในการเขียนโปรแกรมลงไป ESP-01 เป็นโมดูลไร้สายขนาดเล็ก เชื่อมต่อกับ WiFi อีกทั้งยังสามารถลงโปรแกรมไปในตัวได้โดยไม่ต้องอาศัย Arduino หรือ MCU อื่น ๆ เนื่องจากชิป ESP8266 ที่ใช้นั้นจะเป็นชิปแบบ System on Chip : SoC คือสามารถเป็นไมโครคอนโทรเลอร์ได้ในตัว สำหรับการเขียนโปรแกรมตัวชิปถูกออกแบบมาให้ใช้ภาษา Lua…

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save