Month: October 2020

STM32 วัดอุณหภูมิ และความชื้น แสดง ออกทางหน้าจอ LCD

STM32 วัดอุณหภูมิ และความชื้น แสดง ออกทางหน้าจอ LCD บทความนี้เราจะเรียนรู้วิธีการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์อุณหภูมิและความชื้นยอดนิยม DHT11 กับไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 โดย DHT11 เป็นเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น เพื่อวัดอุณหภูมิและความชื้นของบรรยากาศในสภาพแวดล้อมเฉพาะหรือในพื้นที่ปิดที่ จำกัด เซ็นเซอร์มักใช้ในการตรวจสอบพารามิเตอร์ด้านสิ่งแวดล้อมในหลาย ๆ แอปพลิเคชันเช่นการเกษตรอุตสาหกรรมอาหารโรงพยาบาลรถยนต์สถานีตรวจอากาศเป็นต้น ประโยชน์และการนำโปรเจคไปพัฒนาต่อ เช่น..เครื่องควบคุมอุณหภูมิเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมอุณหภูมิให้ได้ตามค่าอุณหภูมิที่กำหนดไว้ โดยจะนำมาใช้ในการสั่งการให้กับอุปกรณ์สำหรับทำความร้อนหรืออุปกรณ์ทำความเย็น ทำงาน ตามที่ได้ตั้งค่าอุณหภูมิไว้ การนำมาใช้งานและการควบคุมก็ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการใช้งาน เครื่องวัดอุณหภูมิก็จะมีส่วนที่รับอุณหภูมิ (Input) จากหัววัดอุณหภูมิ หรือที่เรียกกันว่าเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิแล้วมาแสดงผลที่หน้าจอ Display พร้อมกับควบคุมอุณหภูมิให้ได้ตามค่าที่ได้กำหนดไว้…

การใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F103C8T6

การใช้งานจอ LCD STM32F103C8T6 บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F103C8T6 โดยใช้ Character LCD เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD ขนาด 16×2 หมายถึงใน 1 แถว มีตัวอักษรใส่ได้ 16 ตัว และมีทั้งหมด 2 บรรทัดให้ใช้งาน จอ…

การใช้งานบอร์ด STM32 STM32F103C8T6 กับ Arduino IDE

การใช้งานบอร์ด STM32 STM32F103C8T6 กับ Arduino IDE บอร์ด STM32 STM32F103C8T6 บอร์ดพัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32F103C8T6 มีแรม 20KB รอม 64KB รองรับบัส I2C SPI UART และ CAN มี GPIO ทั้งหมด 37 ช่อง และมี ADC 12 บิต…

โปรเจค STM32 เปิดปิดไฟด้วยเสียง (STM32F407VET6)

บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการทำโปรเจค เปิดปิดไฟด้วยเสียงปรบมือ โดยใช้ ไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยประโยชน์ของโปรเจคนี้คือ การเปิดปิดไฟแบบไม่สัมผัส เพื่อลดการติดต่อของเชื้อโรค เช่น เชื้อโควิด 19 ผ่านการสัมผัสสวิทซ์จุดเดียวกัน จากผู้ใช้หลายๆคนใช้ร่วมกัน การทำงานเริ่มจากการรับสัญญาณเสียงเช่น เสียงปรบมือ หรือเสียงอื่นๆที่มีความดังใกล้เคียงกัน ผ่านทางเซ็นเซอร์เสียง (Voice Sound Detection Sensor) แล้วประมวลผลด้วย STM32 ส่งค่าการเปิดปิด (LOW / HIGH)…

การใช้งาน MicroPython กับ STM32 STM32F411CEU6

บทความนี้กล่าวถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรม วิธีการเขียนโค้ด MicroPython สำหรับ STM32 โดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์รุ่น STM32F411CEU6 ภายในมีตัวประมวลผลหรือซีพียู ARM Cortex-M4F หน่วยความจำ Flash 512 KB และ หน่วยความจำ SRAM 128 KB สามารถใช้ความถี่ในการทำงานของซีพียูได้สูงถึง 100MHz เนื่องจากบอร์ดนี้มีสีดำ จึงมีการตั้งชื่อหรือเรียกกันว่า STM32 Black Pill ความเรียบง่ายของการเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษา Python ทำให้ MicroPython…

การใช้งานบอร์ด STM32 STM32F411CEU6 กับ Arduino IDE

บอร์ด STM32 STM32F411CEU6 ผลิตในประเทศจีน โดย WeAct Studio ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์รุ่น STM32F411CEU6 ภายในมีตัวประมวลผลหรือซีพียู ARM Cortex-M4F หน่วยความจำ Flash 512 KB และ หน่วยความจำ SRAM 128 KB สามารถใช้ความถี่ในการทำงานของซีพียูได้สูงถึง 100MHz เนื่องจากบอร์ดนี้มีสีดำ จึงมีการตั้งชื่อหรือเรียกกันว่า STM32 Black Pill คอมไพล์เลอร์ที่นิยมใช้งานกันได้แก่ STM32CubeIDE…

การใช้งาน MPLAB-X IDE กับ Arduino UNO

บทความนี้กล่าวถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรม โค้ดภาษา C ให้กับไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno (ATmega328P) ด้วย MPLAB-X IDE การเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino เช่น Uno / Nano ปรกติก็มี Arduino IDE เป็นซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้งานกัน ซึ่งก็ใช้งานได้สะดวก แต่ถ้าเราจะเขียนโค้ดภาษา C สำหรับ AVR 8-bit MCU เรายังมีตัวเลือกอื่นๆ เช่น การใช้งาน…

การติดตั้ง MPLAB-X IDE และ XC8 Compiler

บทความนี้กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานติดตั้ง MPLAB-X IDE และ XC8 Compiler ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์พัฒนางานด้านไมโครคอนโทรลเลอร์ของค่ายไมโครชิพ (Microchip) แต่เนื่องจากว่า บริษัท Atmel ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Microchip ไปแล้วตั้งแต่ปี ค.ศ. 2016 ดังนั้น MPLAB-X IDE จึงเป็นตัวเลือกใหม่สำหรับนักพัฒนา ด้านไมโครคอนโทรลเลอร์ในตระกูล AVR ของค่าย Atmel อีกด้วย ขั้นตอนการทํางาน (ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 10) 1…

การใช้งาน GPS โมดูล กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6

บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งาน โมดูล GPS รุ่น GY-NEO6MV2 NEO-6M กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยใช้การสื่อสารกันผ่านพอร์ตอนุกรมแบบ UART และแสดงผล ละติจูด , ลองจิจูด ที่จอ LCD 16×2 GPS ย่อมาจาก Global Positioning System และใช้เพื่อตรวจจับละติจูดและลองจิจูดของตำแหน่งใด ๆ บนโลกโดยมีเวลา UTC ที่แน่นอน…

การใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6

บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยใช้ Character LCD เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD ขนาด 16×2 หมายถึงใน 1 แถว มีตัวอักษรใส่ได้ 16 ตัว และมีทั้งหมด 2 บรรทัดให้ใช้งาน จอ LCD ปกติจะใช้สายไฟหลายเส้นในการต่อใช้งาน แต่โมดูล…

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save