การติดตั้ง ESP-IDF บน Windows 10

ESP-IDF เป็นชุดคอมไพล์เลอร์ ESP32 ที่พัฒนาโดยบริษัท Espressif ผู้ที่ออกแบบ SOC ตัวนี้ขึ้นมา ในยุคแรกๆ ของ ESP32 นั้นจำเป็นต้องใช้ ESP-IDF ในการเขียนชุดคอมไพเลอร์ในการ อัพโหลดโค้ด ลงบนบอร์ด ESP32

ต่อมาได้มีคนเขียน ไลบรารี่ ลงบน Arduino และ Platformio ทำให้เขียนโปรแกรมควบคุมบอร์ด ESP32 ง่ายมากยิ่งขึ้นแต่อย่างไรก็ตามหากมีบอร์ด ESP32 ออกมาใหม่แล้วยังไม่มี ไลบรารี่ ลง Aruidno ยังไงก็จำเป็นที่ต้องเขียน ESP-IDF เป็นอยู่ดี ซึ่งในบทความนี้เราจะมาเริ่มการเขียนพื้นฐานง่ายๆ อย่าง Set Environment ใน Window 10 ของเราให้เขียนโปรแกรมโดยใช้ ESP-IDF ของ Espressif ได้และ การอัพโหลดโค้ด ลงบนบอร์ด ESP32


1 : ติดตั้ง ESP-IDF Tools


ไปที่


ดาวน์โหลด ESP-IDF Tools Installer


เปิดไฟล์ เริ่มติดตั้งโปรแกรม เลือก I Accept the agreement -> Next


Next >


เลือก Install Git -> Next

Download ESP-IDF -> Next


เลือกเป็น master แล้ว Browse… เลือก directory โฟลเดอร์ที่ต้องการดาวน์โหลด แนะนำให้ไว้ที่ Desktop หรือตำแหน่งไหนที่เข้าไปแก้ไขไฟล์ได้ง่ายๆ


คลิกขวาที่ ชื่อผู้ใช้งาน -> Make New Folder

คลิกขวา Rename เปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์เป็น esp

สร้าง โฟลเดอร์ใหม่ ในโฟลเดอร์ esp ตั้งชื่อเป็น esp-idf -> OK


Next

เพิ่ม โฟลเดอร์ esp หลังชื่อผู้ใช้งาน -> Next


Next


Install


Finish


คลิกขวาที่ Start แล้วคลิกขวาที่ ESP-IDF Command Promot -> Pin to Start


คลิกเปิด ESP-IDF Command…


cls -> Enter

คำสั่ง CLS เป็นคำสั่งที่เอาไว้สำหรับการทำความสะอาดหน้าจอโปรแกรม หรือที่เรียกว่า CLEAR SCREEN เพื่อเป็นการลบข้อมูลที่เราป้อนไปก่อนหน้านั้นทิ้ง ผู้เขียนโปรแกรมจะได้ไม่เกิดความสับสน


cd %userprofile% -> Enter

คำสั่ง CD (Change Directory) เป็นคำสั่งสำหรับเข้าไปในไดรเรคทอรี่ เพื่อดูข้อมูล ลบ หรือ จัดการกับข้อมูล ไฟล์ ในลักษณะต่างๆ


cd Desktop -> Enter


ก็อปปี้โปรเจค hello_world จากโฟลเดอร์ \examples\get-started\

คำสั่ง XCOPY สำหรับก็อปปี้ข้อมูล เพื่อสร้างข้อมูลหรือไฟล์อีกชุดหนึ่งที่เหมือนกันทุกอย่าง

xcopy /e /i %IDF_PATH%\examples\get-started\hello_world hello_world -> Enter


cd hello_world -> Enter

ตั้งเป้าหมายใช้เป็นบอร์ด ESP32 ด้วยคำสั่ง

idf.py set-target esp32 -> Enter

cls -> Enter

idf.py menuconfig -> Enter


เมื่อรันคำสั่งสำเร็จจะปรากฎ หน้า menuconfig

เซฟ โดย ไม่เปลี่ยนแปลงค่าใดๆ โดคคำสั่ง s -> Enter

Esc , Esc กลับสู่หน้าเดิม


cls -> Enter

Compile หรือ Build โปรแกรม ด้วยคำสั่ง

การ ฺBuild ก็คือการคอมไพล์ source code และ resource ต่างๆ แล้วเอามาห่อ (package) รวมกันเป็นไฟล์ผลลัพธ์สุดท้าย 



idf.py build -> Enter


2 : เชื่อมต่อสาย USB ระหว่าง คอมพิวเตอร์ กับ ESP32

MicroPython โปรแกรมแรก Blink


3 : ตรวจสอบการเชื่อมต่อ ระหว่าง คอมพิวเตอร์ กับ บอร์ด ESP32


คลิกขวา ที่ Start เลือกไปที่ Device Manager



ไปที่ Ports (COM & LPT) จะพบ Silicon Labs CP210x USB to UART Bridge ในตัวอย่างเป็น (COM8) แสดงว่าคอมพิวเตอร์ของเราสามารถ ติดต่อสื่อสารกับ บอร์ด ESP32 ได้แล้ว

cls -> Enter

อัพโหลดโค้ด หรือ “เบิร์นโปรแกรม” ด้วยคำสั่ง

การอัพโหลดโค้ดเข้าไปในชิป หรือเรียกภาษาเราบ่อยๆว่า “เบิร์นโปรแกรม” คือ การเบิร์นไฟล์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ลงบนตัวไอซี ไมโครคอนโทรลเลอร์

idf.py -p COM8 flash -> Enter (COM8 คอมแต่ละเครื่องจะไม่เหมือนกันให้เลือกตามข้อมูลตามภาพด้านบน)


Done แสดงการอัพโหลดสำเร็จ


4 : ทดสอบการทำงาน


ดาวน์โหลด และติดตั้ง โปรแกรม Tera Term

Tera Term เป็นโอเพ่นซอร์สซอฟต์แวร์ที่ พัฒนา ขึ้นเพื่อใช้สำหรับ วัตถุประสงค์การ เลียนแบบ จะใช้งานเมื่อผู้ใช้ต้องการ เลียนแบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 


เปิดโปรแกรม แล้วไปที่ Setup -> Serial port…


ที่ Port: เลือกเป็น COM8 (ตามขั้นตอนที่ 3) -> Speed: เป็น 115200 -> New Open


โปรแกรมเริ่มแสดงผล โดยนับถอยหลังจาก 10 ลงไปถึง 0


แล้วแสดง Hello world! นั่นคือ โปรแกรมแรกของคุณสำเร็จแล้ว

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *